- โกฐกะกลิ้ง
- โกฐกักกรา
- โกฐน้ำเต้า
- เทียนลวด หรือ เทียนหลอด
- เทียนขม
- เทียนแกลบ
- บัวหลวงแดง
- บัวหลวงขาว
- บัวสัตตบงกชแดง
- บัวสัตตบงกชขาว
- บัวเผื่อน
- บัวขม
สรรพคุณ แก้ไข้อันเกิดแก่ธาตุทั้ง 4 แก้ลม
- เกลือสมุทร
- เกลือสุนจะละ
- เกลือสุวสา
- เกลือเยาวกาษา
- เกลือวิธู
- เกลือด่างคลี
- เกลือกะตังมูตร
1. เกลือสมุทร รสเค็ม บำรุงธาตุทั้ง 4
มหาพิกัด
มหาพิกัดตรี (ยา 3 สิ่ง)
1) มหาพิกัดตรีผลา ถ้าจะแก้เสมหะสมุฏฐาน
- ลูกสมอภิเภก 8 ส่วน (ปิตตะ)
- ลูกสมอไทย 4 ส่วน (วาตะ)
- ลูกมะขามป้อม 12 ส่วน (เสมหะ)
- ลูกสมอภิเภก 12 ส่วน (ปิตตะ)
- ลูกสมอไทย 8 ส่วน (วาตะ)
- ลูกมะขามป้อม 4 ส่วน (เสมหะ)
- ลูกสมอภิเภก 4 ส่วน (ปิตต)
- ลูกสมอไทย 12 ส่วน (วาตะ)
- ลูกมะขามป้อม 8 ส่วน (เสมหะ)
ตัวยา/น้ำหนัก
(ส่วน) ธาตุ
|
มหาพิกัดตรีผลา
|
||
ลูกสมอพิเภก
(ฤดูร้อน)
|
ลูกสมอไทย
(ฤดูฝน)
|
ลูกมะขามป้อม
(ฤดูหนาว)
|
|
ปิตตะ / เตโชธาตุ
|
12
|
8
|
4
|
วาตะ / วาโยธาตุ
|
4
|
12
|
8
|
เสมหะ / อาโปธาตุ
|
8
|
4
|
12
|
อุจจาระ / ปถวีธาตุ
|
มหาพิกัดตรีผลา ถ้าจะแก้ในกองปถวีธาตุ ให้เอาสิ่งละเสมอภาค
|
ตรีกฏุกเป็นพิกัดยาในวสันตฤดู (ฤดูฝน)
1) มหาพิกัดตรีกฏูก ถ้าจะแก้เสมะหะสมุฏฐาน
- เหง้าขิงแห้ง 8 ส่วน (ปิตตะ)
- เมล็ดพริกไทย 4 ส่วน (วาตะ)
- ดอกดีปลี 12 ส่วน (เสมหะ)
- เหง้าขิงแห้ง 12 ส่วน (ปิตตะ)
- เมล็ดพริกไทย 8 ส่วน (วาตะ)
- ดอกดีปลี 4 ส่วน (เสมหะ)
- เหง้าขิงแห้ง 4 ส่วน (ปิตตะ)
- เมล็ดพริกไทย 12 ส่วน (วาตะ)
- ดอกดีปลี 8 ส่วน (เสมหะ)
ตัวยา/น้ำหนัก
(ส่วน)
ธาตุ
|
มหาพิกัดตรีกฏุก
|
||
เหง้าขิงแห้ง
(ฤดูร้อน)
|
เมล็ดพริกไทย
(ฤดูฝน)
|
ดอกดีปลี
(ฤดูหนาว)
|
|
ปิตตะ / เตโชธาตุ
|
12
|
8
|
4
|
วาตะ / วาโยธาตุ
|
4
|
12
|
8
|
เสมหะ / อาโปธาตุ
|
8
|
4
|
12
|
อุจจาระ / ปถวีธาตุ
|
มหาพิกัดตรีกฏุก ถ้าจะแก้ในกองปถวีธาตุ ให้เอาสิ่งละเสมอภาค
|
- รากเจตมูลเพลิง 8 ส่วน (ปิตตะ)
- เถาสะค้าน 4 ส่วน (วาตะ)
- รากช้าพลู 12 ส่วน (เสมหะ)
- รากเจตมูลเพลิง 12 ส่วน (ปิตตะ)
- เถาสะค้าน 8 ส่วน (วาตะ)
- รากช้าพลู 4 ส่วน (เสมหะ)
- รากเจตมูลเพลิง 4 ส่วน (ปิตตะ)
- เถาสะค้าน 12 ส่วน (วาตะ)
- รากช้าพลู 8 ส่วน (เสมหะ)
ตัวยา/น้ำหนัก
(ส่วน)
ธาตุ
|
มหาพิกัดตรีสาร
|
||
รากเจตมูลเพลิง
(ฤดูร้อน)
|
เถาสะค้าน
(ฤดูฝน)
|
รากช้าพลู
(ฤดูหนาว)
|
|
ปิตตะ / เตโชธาตุ
|
12
|
8
|
4
|
วาตะ / วาโยธาตุ
|
4
|
12
|
8
|
เสมหะ / อาโปธาตุ
|
8
|
4
|
12
|
อุจจาระ / ปถวีธาตุ
|
มหาพิกัดตรีสาร ถ้าจะแก้ในกองปถวีธาตุ ให้เอาสิ่งละเสมอภาค
|
- มหาพิกัดเบญจกูล
- อภิญญาณเบญจกูล
- ทศเบญจกูล
- โสฬสเบญจกูล
- ทศเบญจขันธ์
- รากเจตมูลเพลิง 4 ส่วน
- เถาสะค้าน 6 ส่วน
- เหง้าขิงแห้ง 10 ส่วน
- รากช้าพลู 12 ส่วน
- ดอกดีปลี 20 ส่วน
- ใบ ดอก ราก เจตมูลเพลิง สิ่งละ 4 ส่วน
- ใบ ดอก ราก สะค้าน สิ่งละ 6 ส่วน
- ใบ ดอก ราก ขิงแห้ง สิ่งละ 10 ส่วน
- ใบ ดอก ราก ช้าพลู สิ่งละ 12 ส่วน
- ใบ ดอก ราก ดีปลี สิ่งละ 20 ส่วน
สรรพคุณ แก้ในกองอภิญญาณธาตุ คือ
3. ทศเบญจกูล มีส่วนตัวยาดังนี้
- ดอกดีปลี 10 ส่วน
- เถาสะค้าน 10 ส่วน
- เหง้าขิงแห้ง 10 ส่วน
- รากช้าพลู 10 ส่วน
- รากเจตมูลเพลิง 10 ส่วน
- ดอกดีปลี 16 ส่วน
- รากช้าพลู 8 ส่วน
- เถาสะค้าน 6 ส่วน
- รากเจตมูลเพลิง 4 ส่วน
- เหง้าขิงแห้ง 2 ส่วน
- ดอกดีปลี 2 ส่วน
- รากช้าพลู 16 ส่วน
- เถาสะค้าน 8 ส่วน
- รากเจตมูลเพลิง 6 ส่วน
- เหง้าขิงแห้ง 4 ส่วน
- ดอกดีปลี 4 ส่วน
- รากช้าพลู 2 ส่วน
- เถาสะค้าน 16 ส่วน
- รากเจตมูลเพลิง 8 ส่วน
- เหง้าขิงแห้ง 6 ส่วน
- ดอกดีปลี 6 ส่วน
- รากช้าพลู 4 ส่วน
- เถาสะค้าน 2 ส่วน
- รากเจตมูลเพลิง 16 ส่วน
- เหง้าขิงแห้ง 8 ส่วน
- ดอกดีปลี 8 ส่วน
- รากช้าพลู 6 ส่วน
- เถาสะค้าน 4 ส่วน
- รากเจตมูลเพลิง 2 ส่วน
- เหง้าขิงแห้ง 16 ส่วน
ตัวยา / น้ำหนัก
(ส่วน)
ธาตุ
|
โสฬสเบญจกูล
|
|||||
ดอกดีปลี
|
รากช้าพลู
|
เถาสะค้าน
|
รากเจตมูลเพลิง
|
เหง้าขิงแห้ง
|
||
ปถวีธาตุ
|
16
|
8
|
6
|
4
|
2
|
|
อาโปธาตุ
|
2
|
16
|
8
|
6
|
4
|
|
วาโยธาตุ
|
4
|
2
|
16
|
8
|
6
|
|
เตโชธาตุ
|
6
|
4
|
2
|
16
|
8
|
|
อากาศธาตุ
|
8
|
6
|
4
|
2
|
16
|
ให้ระส่ำระสายในกองธาตุทั้ง 4
1) ทศเบญจขันธ์ถ้าจะแก้ในกองปถวีธาตุ
- ดอกดีปลี 5 ส่วน
- รากเจตมูลเพลิง 4 ส่วน
- เถาสะค้าน 3 ส่วน
- รากช้าพลู 2 ส่วน
- เหง้าขิงแห้ง 1 ส่วน
- รากเจตมูลเพลิง 5 ส่วน
- เถาสะค้าน 4 ส่วน
- รากช้าพลู 3 ส่วน
- เหง้าขิงแห้ง 2 ส่วน
- ดอกดีปลี 1 ส่วน
- เถาสะค้าน 5 ส่วน
- รากช้าพลู 4 ส่วน
- เหง้าขิงแห้ง 3 ส่วน
- ดอกดีปลี 2 ส่วน
- เจตมูลเพลิง 1 ส่วน
- รากช้าพลู 5 ส่วน
- เหง้าขิงแห้ง 4 ส่วน
- ดอกดีปลี 3 ส่วน
- รากเจตมูลเพลิง 2 ส่วน
- เถาสะค้าน 1 ส่วน
- เหง้าขิงแห้ง 5 ส่วน
- ดอกดีปลี 4 ส่วน
- รากเจตมูลเพลิง 3 ส่วน
- เถาสะค้าน 2 ส่วน
- รากช้าพลู 1 ส่วน
ตัวยา/น้ำหนัก
(ส่วน)
ธาตุ
|
มหาพิกัดทศขันธ์
|
|||||
ดอกดีปลี
|
รากเจตมูลเพลิง
|
เถาสะค้าน
|
รากช้าพลู
|
เหง้าขิงแห้ง
|
||
ปถวีธาตุ
|
5
|
4
|
3
|
2
|
1
|
|
เตโชธาตุ
|
1
|
5
|
4
|
3
|
2
|
|
วาโยธาตุ
|
2
|
1
|
5
|
4
|
3
|
|
อาโปธาตุ
|
3
|
2
|
1
|
5
|
4
|
|
อากาศธาตุ
|
4
|
3
|
2
|
1
|
5
|
- แก้เตโชธาตุ กำเริบ หย่อน พิการ
- แก้วาโยธาตุ กำเริบ หย่อน พิการ
- แก้อาโปธาตุ กำเริบ หย่อน พิการ
- แก้ปถวีธาตุ กำเริบ หย่อน พิการ
- ลูกสมอพิเภก หนัก 16 ส่วน
- รากเจตมูลเพลิง หนัก 8 ส่วน
- เหง้าขิงแห้ง หนัก 4 ส่วน
- รากช้าพลู หนัก 3 ส่วน
- ดอกดีปลี หนัก 2 ส่วน
- เถาสะค้าน หนัก 1 ส่วน
- รากเจตมูลเพลิง หนัก 16 ส่วน
- เหง้าขิงแห้ง หนัก 8 ส่วน
- ลูกสมอพิเภก หนัก 4 ส่วน
- เถาสะค้าน หนัก 3 ส่วน
- รากช้าพลู หนัก 2 ส่วน
- ดอกดีปลี หนัก 1 ส่วน
- เหง้าขิงแห้ง หนัก 16 ส่วน
- ลูกสมอพิเภก หนัก 8 ส่วน
- รากเจตมูลเพลิง หนัก 4 ส่วน
- ดอกดีปลี หนัก 3 ส่วน
- เถาสะค้าน หนัก 2 ส่วน
- รากช้าพลู หนัก 1 ส่วน
เตโช ธาตุ |
ตรี ผลา ลูกสมอพิเภก |
ตรี สาร รากเจต มูล เพลิง |
ตรี กฏุก เหง้า ขิง แห้ง |
ราก ช้า พลู |
ดอก ดี ปลี |
เถา สะ ค้าน |
ฤดู |
กำเริบ |
16 |
8 |
4 |
3 |
2 |
1 |
ร้อน |
หย่อน |
4 |
16 |
8 |
2 |
1 |
3 |
ฝน |
พิการ |
8 |
4 |
16 |
1 |
3 |
2 |
หนาว |
-----------------------------------------------------------
1) แก้วาโยธาตุกำเริบ มีตัวยาดังนี้
- ลูกสมอไทย หนัก 16 ส่วน
- เถาสะค้าน หนัก 8 ส่วน
- เมล็ดพริกไทย หนัก 4 ส่วน
- ดอกดีปลี หนัก 3 ส่วน
- รากเจตมูลเพลิง หนัก 2 ส่วน
- รากช้าพลู หนัก 1 ส่วน
- เหง้าขิงแห้ง หนัก 1/2 ส่วน (ใช้ระคนกัน)
- เถาสะค้าน หนัก 16 ส่วน
- เมล็ดพริกไทย หนัก 8 ส่วน
- ลูกสมอไทย หนัก 4 ส่วน
- รากช้าพลู หนัก 3 ส่วน
- ดอกดีปลี หนัก 2 ส่วน
- รากเจตมูลเพลิง หนัก 1 ส่วน
- เหง้าขิงแห้ง หนัก 1/2 ส่วน (ใช้ระคนกัน)
- เมล็ดพริกไทย หนัก 16 ส่วน
- ลูกสมอไทย หนัก 8 ส่วน
- เถาสะค้าน หนัก 4 ส่วน
- รากเจตมูลเพลิง หนัก 3 ส่วน
- รากช้าพลู หนัก 2 ส่วน
- ดอกดีปลี หนัก 1 ส่วน
- เหง้าขิงแห้ง หนัก 1/2 ส่วน (ใช้ระคนกัน)
วาโย ธาตุ |
ตรี ผลา ลูกสมอไทย |
ตรี สาร เถาสะ ค้าน |
ตรีกฏุก เมล็ดพริก ไทย |
ดอกดีปลี |
รากเจตมูล เพลิง |
รากช้า พลู |
ฤดู |
กำเริบ |
16 |
8 |
4 |
3 |
2 |
1 |
ร้อน |
หย่อน |
4 |
16 |
8 |
2 |
1 |
3 |
ฝน |
พิการ |
8 |
4 |
16 |
1 |
3 |
2 |
หนาว |
เหง้าขิงแห้ง ระคนทั้งกำเริบ
หย่อน พิการ ½ ส่วน |
- ลูกมะขามป้อม หนัก 16 ส่วน
- รากช้าพลู หนัก 8 ส่วน
- ดอกดีปลี หนัก 4 ส่วน
- รากเจตมูลเพลิง หนัก 3 ส่วน
- เถาสะค้าน หนัก 2 ส่วน
- เหง้าขิงแห้ง หนัก 1 ส่วน
- เมล็ดพริกไทย หนัก 1/2 ส่วน (ใช้ระคนกัน)
- รากช้าพลู หนัก 16 ส่วน
- ดอกดีปลี หนัก 8 ส่วน
- ลูกมะขามป้อม หนัก 4 ส่วน
- เหง้าขิงแห้ง หนัก 3 ส่วน
- รากเจตมูลเพลิง หนัก 2 ส่วน
- เถาสะค้าน หนัก 1 ส่วน
- เมล็ดพริกไทย หนัก 1/2 ส่วน (ใช้ระคนกัน)
- ดอกดีปลี หนัก 16 ส่วน
- ลูกมะขามป้อม หนัก 8 ส่วน
- รากช้าพลู หนัก 4 ส่วน
- เถาสะค้าน หนัก 3 ส่วน
- เหง้าขิงแห้ง หนัก 2 ส่วน
- รากเจตมูลเพลิง หนัก 1 ส่วน
- เมล็ดพริกไทย หนัก 1/2 ส่วน (ใช้ระคนกัน)
อาโป ธาตุ |
ตรี ผลา ลูก มะ ขาม ป้อม |
ตรี สาร ราก ช้า พลู |
ตรี กฏุก ดอกดีปลี |
ราก เจต มูล เพลิง |
เถา สะ ค้าน |
เหง้า ขิง แห้ง |
ฤดู |
กำเริบ |
16 |
8 |
4 |
3 |
2 |
1 |
ร้อน |
หย่อน |
4 |
16 |
8 |
2 |
1 |
3 |
ฝน |
พิการ |
8 |
4 |
16 |
1 |
3 |
2 |
หนาว |
เมล็ดพริกไทย ระคนทั้งกำเริบ
หย่อน พิการ ½ ส่วน |
2. รากช้าพลู
3. ดอกดีปลี
- รากช้าพลู หนัก 16 ส่วน
- ดอกดีปลี หนัก 8 ส่วน
- เถาสะค้าน หนัก 4 ส่วน
- รากเจตมูลเพลิง หนัก 3 ส่วน
- เหง้าขิงแห้ง หนัก 2 ส่วน
- เมล็ดพริกไทย หนัก 1 ส่วน
- ลูกสมอพิเภก หนัก 1/2 ส่วน - มหาพิกัด
- ลูกสมอไทย หนัก 1/2 ส่วน } ตรีผลา
- ลูกมะขามป้อม หนัก 1/2 ส่วน - (ใช้ระคนกัน)
- ดอกดีปลี หนัก 16 ส่วน
- เถาสะค้าน หนัก 8 ส่วน
- รากช้าพลู หนัก 4 ส่วน
- เมล็ดพริกไทย หนัก 3 ส่วน
- รากเจตมูลเพลิง หนัก 2 ส่วน
- เหง้าขิงแห้ง หนัก 1 ส่วน
- ลูกสมอพิเภก หนัก 1/2 ส่วน - มหาพิกัด
- ลูกสมอไทย หนัก 1/2 ส่วน } ตรีผลา
- ลูกมะขามป้อม หนัก 1/2 ส่วน - (ใช้ระคนกัน)
- เถาสะค้าน หนัก 16 ส่วน
- รากช้าพลู หนัก 8 ส่วน
- ดอกดีปลี หนัก 4 ส่วน
- เหง้าขิงแห้ง หนัก 3 ส่วน
- เมล็ดพริกไทย หนัก 2 ส่วน
- รากเจตมูล หนัก 1 ส่วน
- ลูกสมอพิเภก หนัก 1/2 ส่วน - มหาพิกัด
- ลูกสมอไทย หนัก 1/2 ส่วน } ตรีผลา
- ลูกมะขามป้อม หนัก 1/2 ส่วน - (ใช้ระคนกัน)
ปถวี ธาตุ |
รากช้า พลู |
ดอก ดี ปลี |
เถา สะ ค้าน |
ราก เจต มูล เพลิง |
เหง้า ขิง แห้ง |
เมล็ด พริก ไทย |
ฤดู |
กำเริบ |
16 |
8 |
4 |
3 |
2 |
1 |
ร้อน |
หย่อน |
4 |
16 |
8 |
2 |
1 |
3 |
ฝน |
พิการ |
8 |
4 |
16 |
1 |
3 |
2 |
หนาว |
พิกัดตรีผลา
(สมอพิเภก สมอไทย มะขามป้อม) ระคนทั้งกำเริบ
หย่อน พิการ ½ ส่วน |
2. ดอกดีปลี
6. เมล็ดพริกไทย
ราศีธาตุ |
ช่วงเวลา แต่ละราศี |
พระ อาทิตย์ สถิตย์ ในราศี |
พิกัดสมุฏฐาน
(ระคน
ให้เป็นเหตุ) |
พิกัดราศีธาตุ หย่อน พิการ |
ธาตุไฟ |
แรม 1 ค่ำ เดือน 4 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 5 |
เมษ
|
พัทธปิตตะ (ดีในฝัก) |
เตโชธาตุกำเริบ (ธาตุไฟ แรงขึ้นกว่าเดิม) |
ธาตุไฟ |
แรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 9 |
สิงห์
|
อพัทธปิตตะ (ดีนอกฝัก) |
เตโชธาตุหย่อน (ธาตุไฟ ถอยลงกว่าเดิม ) |
ธาตุไฟ |
แรม 1 ค่ำ เดือน 12 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 1 |
ธนู
|
กำเดา (เปลวแห่งวาโย โลหิต) |
เตโชธาตุพิการ (ธาตุไฟ ผิดปกติ / เสียสภาพเดิม) |
|
|
|
|
|
ธาตุดิน |
แรม 1 ค่ำ เดือน 5 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 |
พฤษภ
|
หทัยวัตถุ (ก้อนเนื้อหัวใจ) |
ปถวีธาตุกำเริบ (ธาตุดิน แรงขึ้นกว่าเดิม) |
ธาตุดิน |
แรม 1 ค่ำ เดือน 9 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10 |
กันย์
|
อุทริยะ (อาหารใหม่) |
ปถวีธาตุหย่อน (ธาตุดิน ถอยลงกว่าเดิม ) |
ธาตุดิน |
แรม 1 ค่ำ เดือน 1 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 2 |
มังกร (มกราคม) |
กรีสะ (อาหารเก่า) |
ปถวีธาตุพิการ (ธาตุดิน ผิดปกติ / เสียสภาพเดิม) |
|
|
|
|
|
ธาตุลม |
แรม 1 ค่ำ เดือน 6 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 7 |
เมถุน
|
หทัยวาตะ (ลมที่หัวใจ) |
วาโยธาตุกำเริบ (ธาตุลม แรงขึ้นกว่าเดิม) |
ธาตุลม |
แรม 1 ค่ำ เดือน 10 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 |
ตุลย์
|
สัตถกวาตะ (ลมมีพิษ) |
วาโยธาตุหย่อน (ธาตุลม ถอยลงกว่าเดิม ) |
ธาตุลม |
แรม 1 ค่ำ เดือน 2 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 |
กุมภ์
|
สุมนาวาตะ (ลมในเส้น) |
วาโยธาตุพิการ (ธาตุลม ผิดปกติ / เสียสภาพเดิม) |
|
|
|
|
|
ธาตุน้ำ |
แรม 1 ค่ำ เดือน 7 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 |
กรกฎ |
ศอเสมหะ (เสมหะ ในลำคอ) |
อาโปธาตุกำเริบ (ธาตุน้ำ แรงขึ้นกว่าเดิม) |
ธาตุน้ำ |
แรม 1 ค่ำ เดือน 11 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 |
พิจิก
|
อุระเสมหะ (เสมหะ ในทรวงอก) |
อาโปธาตุหย่อน (ธาตุน้ำ ถอยลงกว่าเดิม ) |
ธาตุน้ำ |
แรม 1 ค่ำ เดือน 3 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 4 |
มีน
|
คูถเสมหะ (เสมหะ ที่ทวารหนัก) |
อาโปธาตุพิการ (ธาตุน้ำ ผิดปกติ / เสียสภาพเดิม) |
No comments:
Post a Comment